คอเลสเตอรอล LDL ,HDL คืออะไร ปัจจัยสำคัญ วิธีป้องกัน เคล็ดลับในการรักษาระดับ Cholesterol ในเส้นเลือด
คอเลสเตอรอล LDL ,HDL คืออะไร ปัจจัยสำคัญ วิธีป้องกัน เคล็ดลับในการรักษาระดับ Cholesterol ในเส้นเลือด
ในผู้ที่มีสุขภาพดี อนุภาคไลโปโปรตีน-ความหนาแน่นต่ำจะมีขนาดใหญ่และจำนวนน้อย ในทางตรงกันข้าม ถ้าไลโปโปรตีน-ความหนาแน่นต่ำมีขนาดเล็กแต่จำนวนมาก พบว่ามันส่งเสริมให้เกิดโรคหลอดเลือดตีบ (atheroma)
พบว่าถ้าร่างกายมี ไลโปโปรตีน-ความหนาแน่นสูง ขนาดใหญ่จำนวนมากจะมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามถ้ามีไลโปโปรตีน-ความหนาแน่นสูงขนาดใหญ่จำนวนน้อยจะส่งเสริมให้เป็นโรคหลอดเลือดตีบง่ายขึ้น
ตามลักษณะการขนส่งเช่นเดียวกันนี้ คอเลสเตอรอลก็ถูกแบ่งออก 2 ชนิดคือ
แอลดีแอล คอเลสเตอรอล (LDL cholesterol) เป็นคอเลสเตอรอลชนิดเลว แอลดีแอล คอเลสเตอรอล ที่น้อยกว่า 100 mg/dL จะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจได้
เอชดีแอล คอเลสเตอรอล (HDL cholesterol) เป็นคอเลสเตอรอลชนิดดี เอชดีแอล คอเลสเตอรอล ที่มีค่าตั้งแต่ 40 mg/dL ขึ้นไป จะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจได้
คอเลสเตอรอลจะมีมากในไขมันสัตว์ และระดับคอเลสเตอรอลรวมในเลือด (Total Cholesterol) ไม่ควรเกิน 200 mg/dl ที่สำคัญคือ ต้องหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง เช่น กะทิ ไขมันจากสัตว์ หนังสัตว์ เนื้อสัตว์ที่มีมันติดมาก ๆ เช่น หมูสามชั้น เพราะ กรดไขมันอิ่มตัวส่วนใหญ่ ทำให้ระดับคอเลสเตอรอลในเลือดสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
ปัจจัยสำคัญ ที่ทำให้ปริมาณคอเลสเตอรอลอยู่ในระดับที่เหมาะสมหรือสูงเกินค่า ปกติได้คือ อาหาร ดังนั้นการหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูงจึงเป็นปัจจัย สำคัญที่ช่วยทำให้ปริมาณคอเลสเตอรอลในเลือดลดลงได้
อาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูงมี 2 ชนิด คือ ไขมันแข็ง หรือไขมันอิ่มตัว ซึ่งมักได้จากสัตว์ และอาหารประเภทแป้งหรือคาร์โบไฮเดรต อาหารพวกนี้ไม่ควรรับประทานในปริมาณมาก ๆ แต่ควรบริโภคอาหารที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัว เช่น น้ำมันข้าวโพด น้ำมันเมล็ดทานตะวัน น้ำมันถั่วเหลือง เป็นต้น
การบริโภคไขมันจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงการกระจายตัวของคอเลสเตอรอลจาก พลาสมาเข้าสู่เนื้อเยื่อ เพราะกรดไขมันไม่อิ่มตัวมีผลต่อการนำคอเลสเตอรอลเข้าสู่เซลล์จึงทำให้มีการ สลายตัวของ LDL เพิ่มขึ้น ส่วนกรดไขมันอิ่มตัวจะไปลดการนำคอเลสเตอรอลเข้าสู่เซลล์
คุณสมบัติคอเลสเตอรอล
คอเลสเตอรอลละลายในน้ำได้น้อยมากเพราะโมเลกุลของมันมีส่วนที่เป็นไขมันอยู่มาก ดังนั้นการเคลื่อนย้ายของมันในกระแสเลือดจึงต้องเกาะตัวไปกับ ไลโปโปรตีน (lipoprotein) ไลโปโปรตีนขนาดใหญ่ที่สุดที่ทำหน้าที่ขนคอเลสเตอรอลและไขมันอื่นๆเช่น ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) จากลำไส้เล็กไปยังตับชื่อ ไคโลไมครอน (chylomicron) ในตับอนุภาค ไคโลไมครอน จะจับตัวกับ ไตรกลีเซอไรด์ และคอเลสเตอรอล แล้วเปลี่ยนเป็นไลโปโปรตีน-ความหนาแน่นต่ำ (low-density lipoprotein-LDL) แล้วจะเคลื่อนย้ายไตรกลีเซอไรด์ และคอเลสเตอรอลไปยังเซลล์อื่นๆ ของร่างกาย ส่วนไลโปโปรตีน-ความหนาแน่นสูง (High density lipoprotein-HDL) จะทำหน้าที่ขนส่งคอเลสเตอรอลจากเซลล์ต่างๆ ทั่วร่างกายกลับมาที่ตับ เพื่อกำจัด
ในผู้ที่มีสุขภาพดี อนุภาคไลโปโปรตีน-ความหนาแน่นต่ำจะมีขนาดใหญ่และจำนวนน้อย ในทางตรงกันข้าม ถ้าไลโปโปรตีน-ความหนาแน่นต่ำมีขนาดเล็กแต่จำนวนมาก พบว่ามันส่งเสริมให้เกิดโรคหลอดเลือดตีบ (atheroma)
พบว่าถ้าร่างกายมี ไลโปโปรตีน-ความหนาแน่นสูง ขนาดใหญ่จำนวนมากจะมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามถ้ามีไลโปโปรตีน-ความหนาแน่นสูงขนาดใหญ่จำนวนน้อยจะส่งเสริมให้เป็นโรคหลอดเลือดตีบง่ายขึ้น
ตามลักษณะการขนส่งเช่นเดียวกันนี้ คอเลสเตอรอลก็ถูกแบ่งออก
2 ชนิดคือ
1 แอลดีแอล คอเลสเตอรอล (LDL cholesterol) เป็นคอเลสเตอรอลชนิดเลว แอลดีแอล คอเลสเตอรอล ที่น้อยกว่า 100 mg/dL จะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจได้
2 เอชดีแอล คอเลสเตอรอล (HDL cholesterol) เป็นคอเลสเตอรอลชนิดดี เอชดีแอล คอเลสเตอรอล ที่มีค่าตั้งแต่ 40 mg/dL ขึ้นไป จะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจได้
1 แอลดีแอล คอเลสเตอรอล (LDL cholesterol) เป็นคอเลสเตอรอลชนิดเลว แอลดีแอล คอเลสเตอรอล ที่น้อยกว่า 100 mg/dL จะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจได้
2 เอชดีแอล คอเลสเตอรอล (HDL cholesterol) เป็นคอเลสเตอรอลชนิดดี เอชดีแอล คอเลสเตอรอล ที่มีค่าตั้งแต่ 40 mg/dL ขึ้นไป จะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจได้
เคล็ดลับในการรักษาระดับ Cholesterol ในเส้นเลือด
1. ควบคุมอาหารให้ถูกต้อง และออกกำลังกายสม่ำเสมอ
2. หลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดอื่นๆ เช่น การสูบบุหรี่ อ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ฯลฯ
อาหารที่เหมาะสมกับคนเป็นโรคไขมันในเลือดสูง อาหารที่ควรกิน
- นมพร่องมันเนยหรือนมขาดมันเนย
- เนื้อปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน โดยแยกเอาไขมันและหนังออกให้หมด ถั่วเมล็ดแห้ง
- ข้าวที่ไม่ขัดสีมาก
- ผักสดต่าง ๆ รวมทั้งกระเทียม ข้าวโพด ไม่น้อยกว่าวันละ 2 มื้อ
- ผลไม้ไม่หวานจัด
- ใช้ไขมันจากพืช เช่นน้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันมะกอก น้ำมันข้าวโพด น้ำมันรำ ประกอบอาหาร
- อาหารประเภทต้ม ต้มยำ แกงส้ม ยำ นึ่ง อบ ย่าง (ไม่มีกะทิเป็นส่วนประกอบ )
- ไขมันจากพืช เช่น น้ำมันดอกทานตะวัน น้ำมันข้าวโพด น้ำมันถั่วเหลือง และน้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันที่สกัด เป็นแหล่งของ กรดไขมันที่จำเป็น ซึ่งจะช่วยลดโคเลสเตอรอลได้
อาหารที่ไม่ควรกิน
- อาหารที่มีไขมันแฝงอยู่มาก ได้แก่ อาหารทอด เช่น ไก่ทอด ไข่เจียว กล้วยแขก แกงกะทิ หลนต่าง ๆ ไส้กรอก กุนเชียง
- เนื้อสัตว์ติดมัน หนังเป็ด หนังไก่ ไข่แดง แฮม เบคอน หมูยอ อาหารทะเลบางชนิด เช่น ปลาหมึก หอยนางรม
- ขนมหวานที่มีส่วนประกอบของน้ำตาล และกะทิหรือมะพร้าว เช่น กล้วยบวชชี ขนมหม้อแกง ข้าวเหนียวหน้าต่าง ๆ ข้าวโพดคลุกมะพร้าวน้ำตาล
- ขนมที่มีไขมันแฝงอยู่ เช่น ขนมขบเคี้ยว โดนัท เค้ก คุกกี้ ไอศกรีม
- ไขมันที่ได้จากสัตว์ เช่น เนย มันหมู มันวัว มันไก่ เพราะอาหารเหล่านี้ มีกรดไขมันอิ่มตัว ควรหลีกเลี่ยงอาหาร ที่มี โคเลสเตอรอลสูง
วิธีป้องกันการเกิดคอเลสเตอรอลสูง
1.) หลีกเลี่ยงอาหารพวกไข่แดง เนื้อสัตว์
2.) หลีกเลี่ยงอาหารที่ปรุงด้วยน้ำมัน
3.) ลดการบริโภคน้ำตาล และของหวาน
4.) ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
5.) หลีกเลี่ยงการปรุงอาหารด้วยวิธีการทอด หรือ ผัด
6.) ควบคุมน้ำหนัก
7.) ตรวจสุขภาพอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง
ข้อควรรู้เกี่ยวกับคอเลสเตอรอล
ข้อมูลจาก อาจาร์ยหมอ พอ.นพ.ดร.ดำรง เชี่ยวศิลป์อาวุโส สภากาชาดไทย
- คอเลสเตอรอลไม่ได้เป็นสาเหตุทำให้เป็นโรคหัวใจ
- Dr. Dwight Lundell แพทย์ผ่าตัดโรคหัวใจ ที่ อริโซน่า ผ่าตัดหัวใจมากว่า 5000 คน ไม่ว่าจะเป็น เปลี่ยนหัวใจ ทำ bypass บอลลูนหัวใจ ๆลๆ ท่านพบว่าไม่มีคนไข้รายไหนที่ คอเลสเตอรอลไปอุดตันเส้นเลือดหัวใจ
- คลอเลสเตอรอลยิ่งสูงยิ่งดี
- คลอเลสเตอรอลสูงมีอัตราเสี่ยงเป็นโรคน้อยกว่าคลอเลสเตอรอลต่ำ
- ยาลดคลอเลสเตอรอล เช่น statin มีโอกาสทำให้หัวใจวาย
- ร่างกายได้รับคอเลสเตอรอลจากอาหารเพียง 20 % อีก 80 % สร้างจากตับ
- ถ้าไม่ทานอาหารที่มีคอเลสเตอรอลเลยตับจะต้องทำงานหนักเพื่อสร้างคอเลสเตอรอล
ความสำคัญของคอเลสเตอรอล
- การสร้างเซลล์ทุกเซลล์ในร่างการต้องใช้คอเลสเตอรอล
- ร่างกายใช้ คอเลสเตอรอล เป็นสารตั้งต้นในการสร้าง ฮอร์โมน เช่น ฮอร์โมนเพศ
กลไกการทำงานของคอเลสเตอรอล
- เพื่อความเข้าใจ จะขอเปรี่ยบเทียบง่ายๆก่อนว่า
คอเลสเตอรอล
- เริ่มจากตับผลิตปูน ปูนที่ผลิตจะต้องส่งไปยังเซลล์ต่างๆเพื่อซ่อมแซมตึก แต่เนื่องจาก คอเลสเตอรอลเป็นไขมัน ไม่สามารถเดินทางเข้าเลือดด้วยน้ำได้จึงต้องมีตัวนำไป คือ LDL (รถขนปูน) พอถึงจุดหมาย ช่างปูน (HDL) จะนำเอาปูนไปซ่อมตึก คลอเลสเตอรอลที่ใช้ไม่หมด HDL จะส่งกลับไปที่ตับเพื่อเปลี่ยนเป็นน้ำดีต่อไป
- จากที่กล่าวข้างต้นจะเห็นว่า คอเลสเตอรอล HDL LDL ล้วนแล้วแต่สำคัญ ไม่มีสิ่งไหนไม่ดี แต่คนไปตั้งชื่อให้มันไม่ดีเอง
- แต่อย่างไรก็ตาม ทุกตัวควรจะมีอยู่ในอัตราส่วนที่เหมาะสม
ค่าคอเลสเตอรอลควรจะมีมากกว่า 200 mg/dl และ ค่า HDL ยิ่งสูงยิ่งแข็งแรง
วิธีเพิ่ม HDL
- ไขมันส่วนมากมีขนาดใหญ่ ก่อนจะนำไปใช้ได้ร่างกายจะต้องย่อยไขมันให้มีขนาดเล็กลง
- การย่อยไขมันดังกล่าวจะต้องใช้ HDL ในการย่อย ทำให้ HDL ที่ผลิตในปริมาณจำกัดจากตับเหลือน้อยลง
- น้ำมันมะพร้าว (ไขมันในกะทิ) เป็นไขมันขนาดเล็ก ร่างกายดูดซึมได้เลยจึงไม่ต้องใช้ HDL ในการย่อย
- ดังนั้นการรับประทานน้ำมันมะพร้าว หรือ กะทิ เป็นไขมันหลักจะช่วยให้ HDL ในร่างกายสูงขึ้นเพราะ HDL ไม่ถูกใช้ในการย่อย
- แนะนำให้ทานน้ำมันมะพร้าววันละ 1-4 ช้อนโต๊ะ ส่วนกะทิมากกว่านิดหน่อย
คอเลสเตอรอลคุณภาพดีหาได้จาก
1. ไข่แดงดิบ หรือผ่านความร้อนนิดหน่อย เช่น ใข่ยางมะตูม
- การนำไข่แดงไปผ่านความร้อนจะทำให้คอเลสเตอรอลในไข่คุณภาพแย่ลง
- แนะนำให้รับประทานใข่วันละ 1-3 ฟอง
2. ไขมันจากสัตว์ เช่น น้ำมันหมู หนังหมู ๆลๆ
อเลสเตอครอลไม่ได้เป็นสิ่งที่น่ากลัว ยิ่งสูงยิงดี แต่ HDL ต้องสูงด้วย
ด้วยการรับประทาน น้ำมันมะพร้าว (กะทิ) น้ำมันหมู ไข่ดิบ ในปริมาณพอดี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น